บทที่ 5
แรงจูงใจในการท่องเที่ยว
แรงจูงใจแรงจูงใจของนักท่องเที่ยว หมายถึง
เครือข่ายทั้งหมดที่กำหนดพฤติกรรมการท่องเที่ยว
เป็นแนวคิดทางด้านจิตวิทยาและสังคมวิทยา- พลังทางด้านจิตวิทยา คือ
ความต้องการทำสิ่งต่างๆ เช่น อยากว่ายน้ำ อยากปีนเขา- พลังทางด้านสังคมวิทยา คือ
ความอยากมีหน้ามีตาในสังคม อยากทันสมัย อยากดูมีระดับ
1. แรงจูงใจเกิดเนื่องจากความต้องการที่ยังไม่ได้รับการตอบสนอง
2. แรงจูงใจเป็นตัวกระตุ้นให้เกิดการกระทำหรือแสดงพฤติกรรม
2. แรงจูงใจเป็นตัวกระตุ้นให้เกิดการกระทำหรือแสดงพฤติกรรม
3. แรงจูงใจเป็นตัวกำหนดพฤติกรรมต่างๆ
ที่แสดงออกมา
4.
แรงจูงใจจะเป็นตัวลดความเครียดหรือความไม่สมดุล
5. แรงจูงใจจะแตกต่างกันในแต่ละบุคคลและในเวลาที่เปลี่ยนแปลง
5. แรงจูงใจจะแตกต่างกันในแต่ละบุคคลและในเวลาที่เปลี่ยนแปลง
กระบวนการเกิดแรงจูงใจ
ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับแรงจูงใจ (Motivation)
1
แรงผลัก (Push Factors)
1. ความต้องการทางกายภาพ
physical เช่น
หากเราต้องทำงานหนัก ร่างกายก็ย่อมต้องการพักผ่อน
การเดินทางท่องเที่ยวจึงเป็นทางเลือกหนึ่งในการพักผ่อน
2. หลีกหนีความจำเจ ความเครียด เช่น การเดินทางไปทำงานและกลับบ้าน ทำงานเหมือนเดิมทุกๆ วัน การเจอสภาพรถติด ก็อยากหลีกหนีสิ่งเดิมๆ ไปในที่แปลกๆ ใหม่ๆ
3. ต้องการพบสิ่งใหม่ๆ สถานที่ใหม่ๆ
4. ความภูมิใจที่ได้ไปในสถานที่ใหม่ๆ
2. หลีกหนีความจำเจ ความเครียด เช่น การเดินทางไปทำงานและกลับบ้าน ทำงานเหมือนเดิมทุกๆ วัน การเจอสภาพรถติด ก็อยากหลีกหนีสิ่งเดิมๆ ไปในที่แปลกๆ ใหม่ๆ
3. ต้องการพบสิ่งใหม่ๆ สถานที่ใหม่ๆ
4. ความภูมิใจที่ได้ไปในสถานที่ใหม่ๆ
5.
การเดินทางซึ่งเกิดจากความต้องการที่จะศึกษาเรียนรู้เกี่ยวกับวัฒนธรรม
ชนชาติ การดำรงชีวิตที่แตกต่างไปจากที่อยู่เดิม
6.
ความต้องการเดินทางเพื่อให้โอกาสในการเข้าสังคม
และหาโอกาสที่จะติดต่อสัมพันธ์กับเพื่อนใหม่ๆ
2 แรงดึง (Pull
Factors)
คือ ปัจจัยที่ดึงดูดให้นักท่องเที่ยวเข้าไปในแหล่งท่องเที่ยวนั้นๆ
ด้วยวิธีการใดวิธีการหนึ่ง
เพื่อช่วยให้นักท่องเที่ยวตัดสินใจได้ง่ายขึ้นในการเลือกจุดหมายปลายทาง เช่น การประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยว
การลดราคาโรงแรมช่วงหน้าฝน เทศกาล งานสำคัญต่างๆ
ล้วนแต่เป็นเป็นแรงดึงสำคัญที่ทำให้นักท่องเที่ยวเดินทาง
มูลเหตุจูงใจให้คนท่องเที่ยว
ซึ่งประกอบทั้ง แรงผลักดันและแรงดึงดูด
ได้แก่
1. ต้องการหลีกหนีชีวิตประจำวันอันสับสนวุ่นวายชั่วระยะเวลาหนึ่ง
1. ต้องการหลีกหนีชีวิตประจำวันอันสับสนวุ่นวายชั่วระยะเวลาหนึ่ง
2. การเอาอย่างกัน
คนอื่นนำมาเล่าให้เกิดความต้องการอยากท่องเที่ยว
3. ต้องการแสงอาทิตย์ โดยเฉพาะประเทศที่อยู่ทางซีกโลกเหนือ
4. แสวงหาความสุขทางเพศ
5. ฐานะทางเศรษฐกิจดี คนมีรายได้สูง ทำให้คนอยากท่องเที่ยวมากขึ้น
6. ต้องการความตื่นเต้น ผจญภัย
7. ต้องการพักผ่อนหาความสนุกสนานเพลิดเพลิน
8. เยี่ยมชมสถานที่ต่างๆ เช่น อนุสาวรีย์ สถานที่ทางประวัติศาสตร์ ความแปลกประหลาดและความงามของธรรมชาติ
9. ความสะดวกเกี่ยวกับการจองตั๋วและการจัดบริการของบริษัทนำเที่ยว ซึ่งสามารถจัดได้ทั้งส่วนบุคคล เป็นหมู่คณะ และการจัดทัวร์แบบเบ็ดเสร็จ ( Package )
10. การคมนาคมสะดวกรวดเร็ว 3. ต้องการแสงอาทิตย์ โดยเฉพาะประเทศที่อยู่ทางซีกโลกเหนือ
4. แสวงหาความสุขทางเพศ
5. ฐานะทางเศรษฐกิจดี คนมีรายได้สูง ทำให้คนอยากท่องเที่ยวมากขึ้น
6. ต้องการความตื่นเต้น ผจญภัย
7. ต้องการพักผ่อนหาความสนุกสนานเพลิดเพลิน
8. เยี่ยมชมสถานที่ต่างๆ เช่น อนุสาวรีย์ สถานที่ทางประวัติศาสตร์ ความแปลกประหลาดและความงามของธรรมชาติ
9. ความสะดวกเกี่ยวกับการจองตั๋วและการจัดบริการของบริษัทนำเที่ยว ซึ่งสามารถจัดได้ทั้งส่วนบุคคล เป็นหมู่คณะ และการจัดทัวร์แบบเบ็ดเสร็จ ( Package )
11. ร่วมกิจกรรมกีฬา
12. ศึกษาค้นคว้าทางด้านวัฒนธรรมและโบราณคดี
13. การศึกษา
14. เยี่ยมญาติหรือเพื่อน
15. ธุรกิจ ประชุม สัมมนา
ประสบการณ์
แบ่งได้ 2 แบบคือ
*Positive Experience (ประสบการณ์บวก)
ได้แก่
สิ่งต่างๆ ที่นักท่องเที่ยวได้รับหรือสัมผัสในส่วนที่เป็นที่พอใจ
ก่อให้เกิดความประทับใจ
*Negative Experience ( ประสบการณ์ลบ)
ได้แก่
เหตุการณ์หรือสิ่งต่างๆ
ที่นักท่องเที่ยวได้รับหรือสัมผัสในส่วนที่ไม่เป็นที่น่าพอใจไม่ว่าจะเป็นการบริการ
การปฏิบัติตนของเจ้าของสถานที่หรือสิ่งแวดล้อมต่างๆ
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น